ข้อมูลเกี่ยวกับเขตการค้าเสรีจีน-อาเซี่ยน
การเผยแพร่:2010-05-05 15:08:05
ดูความถี่:0
แหล่ง:CRI
เขตการค้าเสรีจีน-อาเซียนกำลังกลายเป็นเรื่องใกล้ตัวมากขึ้นทุกวันสำหรับประชาชนจีนและประชาชน 10 ประเทศอาเ
เขตการค้าเสรีจีน-อาเซียนกำลังกลายเป็นเรื่องใกล้ตัวมากขึ้นทุกวันสำหรับประชาชนจีนและประชาชน 10 ประเทศอาเซียน เพราะตามกำหนด เขตการค้ัาเสรีจีน-อาเซียนจะถือกำเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 1 มกราคม 2010 เขตการค้าเสรีจีน-อาเซียนจะกลายเป็นเขตการค้าเสรีที่ใหญ่เป็นพิเศษเขตหนึ่งของโลก ถ้าวัดจากจำนวนประชากร เขตการค้าเสรีจีน-อาเซียนก็จัดได้ว่าเป็นเขตการค้าเสรีที่มีประชากรมากที่สุดในโลก คือ มีมากถึง ๑๙๐๐ ล้านคน คิดเป็น ๑ ใน ๓ ของโลกเลยทีเดียว ครอบคลุมพื้นที่ ๑๔ ล้่านตารางกิโลเมตร ในแง่ขนาดเศรษฐกิจ เขตการค้าเสรีจีน-อาเซียนมียอดผลิตภัณฑ์มวลรวมหรือจีดีพีประมาณ ๖ ล้านล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็นประมาณ ๑ ใน ๙ ของโลก อยู่อันดับสาม รองจากเขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือและเขตการค้่าเสรียุโรป ด้วยเหตุนี้ เขตการค้าเสรีจีน-อาเซียนจึงมีบทบาทสำคัญต่อโครงสร้างเศรษฐกิจโลก
กระบวนการสร้างเขตการค้าเสรีจีน-อาเซี่ยน
ความเป็นมา
เมื่อเดือนพฤศจิกายน ปี ๒๐๐๐ นายจูหรงจี อดีตนายกรัฐมนตรีจีนได้เสนอในที่ประชุมผู้นำจีน-อาเซียน ให้มีการจัดตั้งเขตการค้าเสรีจีน-อาเซียน ข้อเสนอนี้ได้รับการตอบสนองอย่างดียิ่งจากผู้นำของ 10 ประเทศสมาชิกอาเซียน ด้วยความพยายามและความต้องการร่วมกันของทุกฝ่าย เมื่อวันที่ ๔ พฤศจิกายน ปี ๒๐๐๒ ผู้นำจีนและ ๑๐ ประเทศอาเซียนได้ร่วมกันลงนามใน"กรอบข้อตกลงความร่วมมือทางเศรษฐกิจอย่างรอบด้านระหว่างจีนกับอาเซียน"ซึ่งเรียกกันสั้น ๆ ว่า "กรอบข้อตกลงความร่วมมือ" ข้อตกลงฉบับนี้ถือเป็นกฏหมายพื้นฐานสำหรับเขตการค้าเสรีจีน-อาเซียน ได้กำหนดโครงสร้างของเขตการค้าเสรี และเป็นสัญลักษณ์ที่แสดงให้เห็นว่า ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการค้าระหว่างจีนกับอาเซียนได้เข้าสู่ช่วงประวัติศาสตร์ใหม่
"กรอบข้อตกลงความร่วมมือ"
กรอบข้อตกลงความร่วมมือฉบับนี้มีทั้งหมด ๑๖ มาตรา โดยมาตราแรกระบุไว้ว่า กรอบข้อตกลงความร่วมมือนี้มีเป้าหมาย ๔ ประการ คือ หนึ่ง เสริมสร้างและเพิ่มพูนความร่วมมือทางเศรษฐกิจ การค้าและการลงทุนระหว่างภาคีสมาิชิก ซึ่งก็คือจีนกับ ๑๐ ประเืืทศอาเซียน ได้แก่ ๖ สมาชิกเก่าของอาเซียน คือ ไทย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย บรูไน และสิงคโปร์ กับ ๔ ประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซียน คือเวียตนาม กัมพูชา ลาวและพม่า สอง ส่งเสริมการค้า้สินค้าและบริการ ค่อย ๆ บรรลุซึ่งความมีเสรีืทางการค้าสินค้าและบริการ สร้างกลไกการลงทุนที่โปร่งใส เสรีและสะดวก สาม บุกเบิกลู่ทางใหม่และกำหนดมาตราการที่เหมาะสมเพื่อให้ภาคีสมาชิกดำเนินความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่ใกล้ิชิดกันยิ่งขึ้น และสี่ อำนวยความสะดวกให้แก่สมาิชิกใหม่ของอาเซียน เพื่อให้สี่ประเทศเข้าร่วมกระบวนการรวมเป็นกลุ่มเศรษฐกิจเดีึยวกันอย่างมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น และลดช่องว่างในระดับการพัฒนาของบรรดาภาคีสมาชิก
ส่วนมาตราอื่่น ๆ ของกรอบข้อตกลงความร่วมมือ ที่สำคัญได้กำหนดเนื้อหาของเขตการค้าเสรีจีน-อาเซียน ตารางการเจรจา เป็นต้น ในด้านเนื้อหานั้น กรอบข้อตกลงฉบับนี้กำหนดไว้ว่า เขตการค้าเสรีจีน-อาเซียนจะประกอบด้วยเืนื้อหาในหลายด้าน เช่น การซื้อขายสินค้า การซื้อขายบริการและความร่วมมือด้านการลงทุน เป็นต้น ในจำนวนนี้ การซื้อขายสินค้าถือเป็นสาระสำคัญที่สุดของเขตการค้าเสรี นอกจากผลิตภัณฑ์ที่มีความละเอียดอ่อนจำนวนน้อยแล้ว อัตราภาษีศุลกากรและมาตรการจำกัดการค้าสำหรับผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ล้วนควรทยอยยกเลิกไป
สำหรับตารางเวลาการเจรจานั้น กรอบข้อตกลงความร่วมมือฉบับนี้ระบุไว้ว่า การเจรจาเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้าจะเริ่มขึ้นในต้นปี ๒๐๐๓ และควรเสร็จสิ้นการเจรจาก่อนวันที่ ๓๐ มิถุนายน ปี ๒๐๐๔ ส่วนการเจรจาเกี่ยวกับการซื้อขายบริการและการลงทุนนั้นก็จะเปิดฉากในต้นปี ๒๐๐๓ เช่นกัน และควรสิ้นสุดการเจรจาให้เร็วที่สุดเ้่ท่าที่จะเร็วได้ กรอบข้อตกลงกำหนดว่า จีนกับ ๑๐ ประเทศอาเซียนควรเริ่มลดภาษีศุลกากรของสินค้าทั่วไปตั้งแต่ต้นปี ๒๐๐๕ จีนกับสมาชิกเก่าของอาเซียนต้องสร้างเขตการค้าเสรีขึ้นในปี ๒๐๑๐ ส่วนสมาชิกใหม่ของอาเซียนต้องเข้าเขตการค้าเสรีอย่างสมบูรณ์ภายในปี ๒๐๑๕ ถึงเวลานั้น อัตรภาษีศุลกากรสำหรับผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่ของจีนและอาเซียนจะลดเป็นศูนย์ นอกจากนั้น ภาคีสมาชิกยังจะยกเลิกมาตรการที่มิใช่ภาษีศุลกากร การค้าระหว่างภาีคีสมาชิกจะบรรลุซึ่งการมีเสรีอย่างแท้จริง
เกี่ยวกับความร่วมมือทางเศรษฐกิจนั้น กรอบข้อตกลงความร่วมมือระบุว่า จีนกับ ๑๐ ประเทศอาเซียนตกลงจะใช้เกษตรกรรม เทคโนโลยีสื่อสารและสารสนเทศ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การส่งเสริมการลงทุนและการบุกเบิกพัฒนาลุ่มแม่้น้ำโขงเป็นประเด็นหลัก และค่อย ๆ ขยายไปสู่ด้านอื่นๆ
เพื่อให้ภาคีสมาชิกได้รับประโยชน์จากเขตการค้าเสรีจีน-อาเซียน จีนและ ๑๐ ประเทศอาเซียนยังได้กำหนดโครงการ " ผลได้ระยะแรก" สาระสำคัญของโครงการนี้คือ ให้ลดภาษีศุลกากรของสินค้ากว่า ๕๐๐ ชนิดตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม ปี ๒๐๐๔ จนลดเป็นศูนย์ในปี ๒๐๐๖
ในกรอบข้อตกลงความร่วมมือยังมีเนื้อหาเกี่ยวกับจีนให้สิทธิพิเศษทางการค้าตามข้อตกลงขององค์การการค้าโลกหรือดับเบิลยูทีโอแก่เวียดนาม ลาวและกัมพูชา สามสมาชิกอาเซียนที่ยังมิได้เข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกด้วย โดยระบุว่า เพื่อช่วยเหลือการพัฒนาของประเทศเหล่านี้ จีนเห็นด้วยที่จะให้สิทธิพิเศษทางการค้าแก่ภาคีสมาิชิกอาเซียนที่มิใช่สมาชิกองค์การการค้าโลกให้เหมือนสมาชิกองค์การการค้าโลก นั่นหมายความว่า คำมั่นสัญญาที่จีนให้ไว้่ขณะเข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกจะต้องนำมาใ้ช้กับเวียดนาม ลาวและกัมพูชาด้วย ซึ่งย่อมจะัช่วยให้สามประเทศดังกล่าวได้รับประโยชน์อย่างมาก
นอกจากนี้แล้ว กรอบข้อตกลงความร่วมมือยังระบุว่า จีนกับอาเซียนจะร่างกฎกติกาว่าด้วยแหล่งผลิตสินค้า ตลอดจนกฏระเบียบว่าด้วยการค้าอื่นๆ เช่น การต่อต้านการทุ่มตลาด การต่อต้านการให้ค่าชดเชยเพื่อเพิ่มปริมาณการส่งออก และกลไกแก้่ไขข้อพิพาท เป็นต้น การร่างกฏกติกาดังกล่าวก็เพื่อประกันให้ในอนาคตเขตการค้าเสรีจีน-อาเซียนสามารถดำเนินไปได้ด้วยความเีรียบร้อยนั่นเอง
กรอบข้อตกลงความร่วมมือที่จีนกับอาเซียนได้ลงนามเมื่อปี ๒๐๐๒ เป็นเอกสารพื้นฐานสำหรับเขตการค้าเสรีจีน-อาเซียน มีความหมายและีมีความสำคัญยิ่ง ถือเป็นสัญลักณ์ที่แสดงให้เห็นว่า กระบวนการสร้างเขตการค้าเสรีจีน-อาเซียนเริ่มขึ้นอย่างเป็นทางการ กระบวนการข้อตกลงความร่วมมือทางเศรษฐกิจอย่างรอบด้านระหว่างจีน-อาเซียน ต่างก็ดำเนินไปตามข้อกำหนดที่ระบุไว้ในเอกสารฉบับนี้
ข้อตกลงซื้อขายสินค้าและอื่นๆ
ตั้งแต่บรรลุกรอบข้อตกลงความร่วมมือเมื่อปี 2002 เป็นต้นมา การสร้างเขตการค้าเสรีก็ได้รับผลคืบหน้าที่น่าพอใจในทุกๆปี เมื่อเดือนพฤศจิกายน ปี 2004 จีนกับอาเซียนลงนามในข้อตกลงซื้อขายสินค้าและข้อตกลงกลไกในการแก้ไขข้อขัดแย้ง ซึ่งได้ประกาศใช้เมื่อเดือนกรกฏาคมปี 2005 อย่างเป็นทางการ โดยเริ่มลดภาษีศุลกากรสำหรับสินค้าประมาณ 7,000 ชนิด เมื่อเดือนมกราคม ปี 2007 จีนกับอาเซียนได้ลงนามในข้อตกลงซื้อขายบริการในเขตการค้าเสรี หน่วยงานบริการกว่า 60 แห่งให้สัญญาว่าจะให้สิทธิพิเศษแก่กันมากกว่า WTO
เมื่อเดือนสิงหาคม ปี 2009 สองฝ่ายลงนามในข้อตกลงการลงทุนในเขตการค้าเสรี ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ว่า การเจรจาที่สำคัญเกี่ยวกับข้อตกลงเขตการค้าเสรีเสร็จจีน-อาเซียนสิ้นลงแล้ว เขตการค้าเสรีใหญ่ที่สุดซึ่งประกอบด้วยประเทศกำลังพัฒนา กำลังจะนำผลประโยชน์มหาศาลมาสู่ประชากร 1,900 ล้านคน ที่มีจีดีพีรวมกันแล้ว 6 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ และมียอดมูลค่าการค้า 4.5 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯใกล้เผยโฉมให้ชาวจีนและชาวอาเซียนได้ประจักษ์และรับประโยชน์ร่วมกันในปี 2010ที่นับถอยหลังใกล้เข้่ามาทุกที
กระบวนการสร้างเขตการค้าเสรีจีน-อาเซี่ยน
ความเป็นมา
เมื่อเดือนพฤศจิกายน ปี ๒๐๐๐ นายจูหรงจี อดีตนายกรัฐมนตรีจีนได้เสนอในที่ประชุมผู้นำจีน-อาเซียน ให้มีการจัดตั้งเขตการค้าเสรีจีน-อาเซียน ข้อเสนอนี้ได้รับการตอบสนองอย่างดียิ่งจากผู้นำของ 10 ประเทศสมาชิกอาเซียน ด้วยความพยายามและความต้องการร่วมกันของทุกฝ่าย เมื่อวันที่ ๔ พฤศจิกายน ปี ๒๐๐๒ ผู้นำจีนและ ๑๐ ประเทศอาเซียนได้ร่วมกันลงนามใน"กรอบข้อตกลงความร่วมมือทางเศรษฐกิจอย่างรอบด้านระหว่างจีนกับอาเซียน"ซึ่งเรียกกันสั้น ๆ ว่า "กรอบข้อตกลงความร่วมมือ" ข้อตกลงฉบับนี้ถือเป็นกฏหมายพื้นฐานสำหรับเขตการค้าเสรีจีน-อาเซียน ได้กำหนดโครงสร้างของเขตการค้าเสรี และเป็นสัญลักษณ์ที่แสดงให้เห็นว่า ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการค้าระหว่างจีนกับอาเซียนได้เข้าสู่ช่วงประวัติศาสตร์ใหม่
"กรอบข้อตกลงความร่วมมือ"
กรอบข้อตกลงความร่วมมือฉบับนี้มีทั้งหมด ๑๖ มาตรา โดยมาตราแรกระบุไว้ว่า กรอบข้อตกลงความร่วมมือนี้มีเป้าหมาย ๔ ประการ คือ หนึ่ง เสริมสร้างและเพิ่มพูนความร่วมมือทางเศรษฐกิจ การค้าและการลงทุนระหว่างภาคีสมาิชิก ซึ่งก็คือจีนกับ ๑๐ ประเืืทศอาเซียน ได้แก่ ๖ สมาชิกเก่าของอาเซียน คือ ไทย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย บรูไน และสิงคโปร์ กับ ๔ ประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซียน คือเวียตนาม กัมพูชา ลาวและพม่า สอง ส่งเสริมการค้า้สินค้าและบริการ ค่อย ๆ บรรลุซึ่งความมีเสรีืทางการค้าสินค้าและบริการ สร้างกลไกการลงทุนที่โปร่งใส เสรีและสะดวก สาม บุกเบิกลู่ทางใหม่และกำหนดมาตราการที่เหมาะสมเพื่อให้ภาคีสมาชิกดำเนินความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่ใกล้ิชิดกันยิ่งขึ้น และสี่ อำนวยความสะดวกให้แก่สมาิชิกใหม่ของอาเซียน เพื่อให้สี่ประเทศเข้าร่วมกระบวนการรวมเป็นกลุ่มเศรษฐกิจเดีึยวกันอย่างมีประสิทธิผลยิ่งขึ้น และลดช่องว่างในระดับการพัฒนาของบรรดาภาคีสมาชิก
ส่วนมาตราอื่่น ๆ ของกรอบข้อตกลงความร่วมมือ ที่สำคัญได้กำหนดเนื้อหาของเขตการค้าเสรีจีน-อาเซียน ตารางการเจรจา เป็นต้น ในด้านเนื้อหานั้น กรอบข้อตกลงฉบับนี้กำหนดไว้ว่า เขตการค้าเสรีจีน-อาเซียนจะประกอบด้วยเืนื้อหาในหลายด้าน เช่น การซื้อขายสินค้า การซื้อขายบริการและความร่วมมือด้านการลงทุน เป็นต้น ในจำนวนนี้ การซื้อขายสินค้าถือเป็นสาระสำคัญที่สุดของเขตการค้าเสรี นอกจากผลิตภัณฑ์ที่มีความละเอียดอ่อนจำนวนน้อยแล้ว อัตราภาษีศุลกากรและมาตรการจำกัดการค้าสำหรับผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ล้วนควรทยอยยกเลิกไป
สำหรับตารางเวลาการเจรจานั้น กรอบข้อตกลงความร่วมมือฉบับนี้ระบุไว้ว่า การเจรจาเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้าจะเริ่มขึ้นในต้นปี ๒๐๐๓ และควรเสร็จสิ้นการเจรจาก่อนวันที่ ๓๐ มิถุนายน ปี ๒๐๐๔ ส่วนการเจรจาเกี่ยวกับการซื้อขายบริการและการลงทุนนั้นก็จะเปิดฉากในต้นปี ๒๐๐๓ เช่นกัน และควรสิ้นสุดการเจรจาให้เร็วที่สุดเ้่ท่าที่จะเร็วได้ กรอบข้อตกลงกำหนดว่า จีนกับ ๑๐ ประเทศอาเซียนควรเริ่มลดภาษีศุลกากรของสินค้าทั่วไปตั้งแต่ต้นปี ๒๐๐๕ จีนกับสมาชิกเก่าของอาเซียนต้องสร้างเขตการค้าเสรีขึ้นในปี ๒๐๑๐ ส่วนสมาชิกใหม่ของอาเซียนต้องเข้าเขตการค้าเสรีอย่างสมบูรณ์ภายในปี ๒๐๑๕ ถึงเวลานั้น อัตรภาษีศุลกากรสำหรับผลิตภัณฑ์ส่วนใหญ่ของจีนและอาเซียนจะลดเป็นศูนย์ นอกจากนั้น ภาคีสมาชิกยังจะยกเลิกมาตรการที่มิใช่ภาษีศุลกากร การค้าระหว่างภาีคีสมาชิกจะบรรลุซึ่งการมีเสรีอย่างแท้จริง
เกี่ยวกับความร่วมมือทางเศรษฐกิจนั้น กรอบข้อตกลงความร่วมมือระบุว่า จีนกับ ๑๐ ประเทศอาเซียนตกลงจะใช้เกษตรกรรม เทคโนโลยีสื่อสารและสารสนเทศ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การส่งเสริมการลงทุนและการบุกเบิกพัฒนาลุ่มแม่้น้ำโขงเป็นประเด็นหลัก และค่อย ๆ ขยายไปสู่ด้านอื่นๆ
เพื่อให้ภาคีสมาชิกได้รับประโยชน์จากเขตการค้าเสรีจีน-อาเซียน จีนและ ๑๐ ประเทศอาเซียนยังได้กำหนดโครงการ " ผลได้ระยะแรก" สาระสำคัญของโครงการนี้คือ ให้ลดภาษีศุลกากรของสินค้ากว่า ๕๐๐ ชนิดตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม ปี ๒๐๐๔ จนลดเป็นศูนย์ในปี ๒๐๐๖
ในกรอบข้อตกลงความร่วมมือยังมีเนื้อหาเกี่ยวกับจีนให้สิทธิพิเศษทางการค้าตามข้อตกลงขององค์การการค้าโลกหรือดับเบิลยูทีโอแก่เวียดนาม ลาวและกัมพูชา สามสมาชิกอาเซียนที่ยังมิได้เข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกด้วย โดยระบุว่า เพื่อช่วยเหลือการพัฒนาของประเทศเหล่านี้ จีนเห็นด้วยที่จะให้สิทธิพิเศษทางการค้าแก่ภาคีสมาิชิกอาเซียนที่มิใช่สมาชิกองค์การการค้าโลกให้เหมือนสมาชิกองค์การการค้าโลก นั่นหมายความว่า คำมั่นสัญญาที่จีนให้ไว้่ขณะเข้าเป็นสมาชิกองค์การการค้าโลกจะต้องนำมาใ้ช้กับเวียดนาม ลาวและกัมพูชาด้วย ซึ่งย่อมจะัช่วยให้สามประเทศดังกล่าวได้รับประโยชน์อย่างมาก
นอกจากนี้แล้ว กรอบข้อตกลงความร่วมมือยังระบุว่า จีนกับอาเซียนจะร่างกฎกติกาว่าด้วยแหล่งผลิตสินค้า ตลอดจนกฏระเบียบว่าด้วยการค้าอื่นๆ เช่น การต่อต้านการทุ่มตลาด การต่อต้านการให้ค่าชดเชยเพื่อเพิ่มปริมาณการส่งออก และกลไกแก้่ไขข้อพิพาท เป็นต้น การร่างกฏกติกาดังกล่าวก็เพื่อประกันให้ในอนาคตเขตการค้าเสรีจีน-อาเซียนสามารถดำเนินไปได้ด้วยความเีรียบร้อยนั่นเอง
กรอบข้อตกลงความร่วมมือที่จีนกับอาเซียนได้ลงนามเมื่อปี ๒๐๐๒ เป็นเอกสารพื้นฐานสำหรับเขตการค้าเสรีจีน-อาเซียน มีความหมายและีมีความสำคัญยิ่ง ถือเป็นสัญลักณ์ที่แสดงให้เห็นว่า กระบวนการสร้างเขตการค้าเสรีจีน-อาเซียนเริ่มขึ้นอย่างเป็นทางการ กระบวนการข้อตกลงความร่วมมือทางเศรษฐกิจอย่างรอบด้านระหว่างจีน-อาเซียน ต่างก็ดำเนินไปตามข้อกำหนดที่ระบุไว้ในเอกสารฉบับนี้
ข้อตกลงซื้อขายสินค้าและอื่นๆ
ตั้งแต่บรรลุกรอบข้อตกลงความร่วมมือเมื่อปี 2002 เป็นต้นมา การสร้างเขตการค้าเสรีก็ได้รับผลคืบหน้าที่น่าพอใจในทุกๆปี เมื่อเดือนพฤศจิกายน ปี 2004 จีนกับอาเซียนลงนามในข้อตกลงซื้อขายสินค้าและข้อตกลงกลไกในการแก้ไขข้อขัดแย้ง ซึ่งได้ประกาศใช้เมื่อเดือนกรกฏาคมปี 2005 อย่างเป็นทางการ โดยเริ่มลดภาษีศุลกากรสำหรับสินค้าประมาณ 7,000 ชนิด เมื่อเดือนมกราคม ปี 2007 จีนกับอาเซียนได้ลงนามในข้อตกลงซื้อขายบริการในเขตการค้าเสรี หน่วยงานบริการกว่า 60 แห่งให้สัญญาว่าจะให้สิทธิพิเศษแก่กันมากกว่า WTO
เมื่อเดือนสิงหาคม ปี 2009 สองฝ่ายลงนามในข้อตกลงการลงทุนในเขตการค้าเสรี ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ว่า การเจรจาที่สำคัญเกี่ยวกับข้อตกลงเขตการค้าเสรีเสร็จจีน-อาเซียนสิ้นลงแล้ว เขตการค้าเสรีใหญ่ที่สุดซึ่งประกอบด้วยประเทศกำลังพัฒนา กำลังจะนำผลประโยชน์มหาศาลมาสู่ประชากร 1,900 ล้านคน ที่มีจีดีพีรวมกันแล้ว 6 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ และมียอดมูลค่าการค้า 4.5 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯใกล้เผยโฉมให้ชาวจีนและชาวอาเซียนได้ประจักษ์และรับประโยชน์ร่วมกันในปี 2010ที่นับถอยหลังใกล้เข้่ามาทุกที
ขอแนะนำให้คุณอ่าน
- เวียดนามกำหนดเป้าหมายการเติบโตของเศรษฐกิจในปี 2018
- จีน – พม่าหารือความร่วมมือทางการค้า
- เศรฐกิจสิงคโปร์เติบโตขึ้น 0.6% ในไตรมาสที่ 3
- นายกรัฐมนตรีมาเลเซียชี้ แผนปฏิรูปเศรษฐกิจได้รับผลคืบหน้าในขั้นต้น
- ความร่วมมือจีน-ลาวช่วยให้เศรษฐกิจลาวพัฒนาเร็วขึ้น
- กระทรวงการคลังสปป.ลาวประกาศข้อตกลงเกี่ยวกับการเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มสินค้าเข้าแดนร้อยละ 10
- โรงงานผลิตปูนซีเมนต์ที่บริษัทจีนลงทุนสร้างในอินโดนีเซียเปิดเดินสายการผลิต
- ประธานคณะกรรมการประสานการลงทุนของอินโดนีเซียคนใหม่ระบุ ข้อเสนอ "หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง" สำคัญต่อการบริหารจัดการเศรษฐกิจโลก
- นายกรัฐมนตรีมาเลเซียระบุ เศรษฐกิจยังคงมีแรงเติบโต
- รัฐบาลพม่าดำเนินนโยบายเศรษฐกิจใหม่
วิดีโอยอดนิยม
ช่องแนะนำ
ด้านบน คิดเห็น
- ภารกิจการขนส่งมนุษย์ของสถานีอวกาศของจีนสร้างสถิติอย่างต่อเนื่อง
- แถลงการณ์คณะกรรมการจัดงานพิธีศพสหายเจียงเจ๋อหมิน ฉบับที่ 2
- ทั่วประเทศจีนไว้อาลัยการจากไปของสหายเจียงเจ๋อหมิน
- จีนคงความสามารถด้านโลจิสติกส์
- คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติจัดพิธีไว้อาลัยการถึงแก่อสัญกรรมของเจียงเจ๋อหมิน
- เมืองและพื้นที่ 36 แห่งของจีนริเริ่มระบบบำนาญส่วนบุคคล
- FAW Toyota ผลิตรถยนต์คันที่ 10 ล้านในเทียนจิน
- ผู้นำและหัวหน้าองค์กรระหว่างประเทศต่างๆร่วมแสดงความเสียใจการถึงแก่อสัญกรรมของเจียงเจ๋อหมิน
- รองนายกฯ จีนเน้น ปรับปรุงมาตรการป้องกันควบคุมโรคระบาดให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
- ผลไม้อาเซียนได้รับความนิยมในประเทศจีน