จีดีพีมาเลเซียเติบโตมากที่สุดในรอบ 4 ปีที่ผ่านมา
การเผยแพร่:2015-02-17 14:40:46
ดูความถี่:0
แหล่ง:cri
สำนักข่าวซินหวารายงานว่า ก่อนหน้านี้ ธนาคารกลางมาเลเซียระบุ จีดีพีปี 2014 ของมาเลเซียเติบโต 6% มากกว่าที่คาดไว้ เติบโตมากที่สุดในรอบ 4 ปีที่ผ่านมา
สื่อมวลชนมาเลเซียรายงานว่า การเติบโตของเศรษฐกิจมาเลเซียในปี 2014 มาจากอุตสาหกรรมก่อสร้าง การให้บริการ การผลิต และเหมืองแร่ รายได้จากการส่งออกน้ำมันดิบของมาเลเซียนั้น เคยเป็น 40% ของรายได้ทั้งหมด แต่ในปี 2014 ตัวเลขนี้เหลือแค่ 22%
นายเซตี อัคตาร์ อาซิซ (Zeti Akhtar Aziz) ผู้ว่าการธนาคารกลางมาเลเซียกล่าวว่า ถึงแม้ว่าราคาน้ำมันดิบในตลาดระหว่างประเทศลดลงอย่างมากในช่วงครึ่งหลังของปีที่แล้วก็ตาม แต่เนื่องจากหลายปีมานี้มาเลเซียพัฒนาเศรษฐกิจด้วยวิธีหลากหลาย พร้อมกับการบริโภคและการลงทุนส่วนบุคคลที่ค่อนข้างสูง เศรษฐกิจมาเลเซียยังคงรักษาการเติบโตเช่นเคย
ขอแนะนำให้คุณอ่าน
- เวียดนามกำหนดเป้าหมายการเติบโตของเศรษฐกิจในปี 2018
- จีน – พม่าหารือความร่วมมือทางการค้า
- เศรฐกิจสิงคโปร์เติบโตขึ้น 0.6% ในไตรมาสที่ 3
- นายกรัฐมนตรีมาเลเซียชี้ แผนปฏิรูปเศรษฐกิจได้รับผลคืบหน้าในขั้นต้น
- ความร่วมมือจีน-ลาวช่วยให้เศรษฐกิจลาวพัฒนาเร็วขึ้น
- กระทรวงการคลังสปป.ลาวประกาศข้อตกลงเกี่ยวกับการเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มสินค้าเข้าแดนร้อยละ 10
- โรงงานผลิตปูนซีเมนต์ที่บริษัทจีนลงทุนสร้างในอินโดนีเซียเปิดเดินสายการผลิต
- ประธานคณะกรรมการประสานการลงทุนของอินโดนีเซียคนใหม่ระบุ ข้อเสนอ "หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง" สำคัญต่อการบริหารจัดการเศรษฐกิจโลก
- นายกรัฐมนตรีมาเลเซียระบุ เศรษฐกิจยังคงมีแรงเติบโต
- รัฐบาลพม่าดำเนินนโยบายเศรษฐกิจใหม่
วิดีโอยอดนิยม
ช่องแนะนำ
ด้านบน คิดเห็น
- ภารกิจการขนส่งมนุษย์ของสถานีอวกาศของจีนสร้างสถิติอย่างต่อเนื่อง
- แถลงการณ์คณะกรรมการจัดงานพิธีศพสหายเจียงเจ๋อหมิน ฉบับที่ 2
- ทั่วประเทศจีนไว้อาลัยการจากไปของสหายเจียงเจ๋อหมิน
- จีนคงความสามารถด้านโลจิสติกส์
- คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติจัดพิธีไว้อาลัยการถึงแก่อสัญกรรมของเจียงเจ๋อหมิน
- เมืองและพื้นที่ 36 แห่งของจีนริเริ่มระบบบำนาญส่วนบุคคล
- FAW Toyota ผลิตรถยนต์คันที่ 10 ล้านในเทียนจิน
- ผู้นำและหัวหน้าองค์กรระหว่างประเทศต่างๆร่วมแสดงความเสียใจการถึงแก่อสัญกรรมของเจียงเจ๋อหมิน
- รองนายกฯ จีนเน้น ปรับปรุงมาตรการป้องกันควบคุมโรคระบาดให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง
- ผลไม้อาเซียนได้รับความนิยมในประเทศจีน