ภาพแกะสลักไม้ไม่พิมพ์ซ้ำ ช่วยพัฒนาชนบทน่าเคอลี
การเผยแพร่:2024-12-13 18:34:17
ดูความถี่:0
แหล่ง:CGTN
เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม เหลิ่ง กวางเหมี่ยน นักวาดภาพแกะสลักไม้ไม่พิมพ์ซ้ำกำลังสอนลูกศิษย์จากเวียดนามและลาว ที่ฐานฝึกอบรมงานแกะสลักไม้น่าเคอลี สถาบันผูเอ่อร์ มณฑลยูนนาน ภาพแกะสลักไม้ไม่พิมพ์ซ้ำเป็นทักษะพิมพ์แบบนูนต่ำที่พัฒนาขึ้นบนพื้นฐานของภาพแกะสลักไม้สีแบบดั้งเดิม เนื่องจากใช้วิธีแกะไปพิมพ์ไป จึงทำลายแม่พิมพ์ไปโดยธรรมชาติ เมื่อพิมพ์สีสุดท้าย แม่พิมพ์ก็จะพิมพ์ใหม่ไม่ได้อีก จึงเรียกว่า ภาพแกะสลักไม้ไม่พิมพ์ซ้ำ ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา สถาบันผูเอ่อร์ร่วมกับหมู่บ้านน่าเคอลี สร้างฐานแห่งนี้ เพื่อฝึกอบรมทักษะของชาวนาในพื้นที่โดยรอบ ทั้งสืบทอดงานศิลปะดั้งเดิม เพิ่มรายได้ชาวบ้าน และพัฒนาชนบทด้วย (Yim/LR/Lei)
ขอแนะนำให้คุณอ่าน
- สีจิ้นผิงให้เอกอัครราชทูต28ประเทศคนใหม่ประจำจีนเข้าพบยื่นสาสน์ตราตั้ง
- สี จิ้นผิงกล่าวปราศรัยในที่ประชุมงานเศรษฐกิจส่วนกลาง
- หอรำลึกเหยื่อเหตุการณ์สังหารหมู่หนานจิงจัดพิธีเชิญธงชาติและลดธงครึ่งเสา
- ภาพแกะสลักไม้ไม่พิมพ์ซ้ำ ช่วยพัฒนาชนบทน่าเคอลี
- จากตลาดมือสอง สู่แหล่งวัฒนธรรมสาธารณะแห่งใหม่ของปักกิ่ง
- ฮาร์บินเริ่มงานสร้าง "โลกหิมะและน้ำแข็ง" แล้ว
- เมืองหลานโจว เตรียมงานเซ่อหั่วต้อนรับปีใหม่
- บทวิเคราะห์ การสร้างผลร้ายต่อห่วงโซ่อุปทานโลกจะไม่มีผู้ชนะ
- ฤดูกาลท่องเที่ยวหิมะและน้ำแข็งกระตุ้นการบริโภคทั่วประเทศจีน
- "สะพานข้ามทะเลหวงเหมาไห่" เขตอ่าวกวางตุ้ง-ฮ่องกง-มาเก๊า เปิดใช้งานอย่างเป็นทางการ
วิดีโอยอดนิยม
ช่องแนะนำ
ด้านบน คิดเห็น
- ท่าเรือเยียนไถ หนุนการส่งออกรถยนต์ของจีน
- พิพิธภัณฑ์แห่งชาติจีนจำหน่ายแม่เหล็กติดตู้เย็นทรงมงกุฎนกฟีนิกซ์จำนวน 530,000 ชิ้น ภายในสี่เดือน
- โครงการสาธิตรวมพลังงานสะอาดผลิตไฟฟ้าที่มณฑลชิงไห่
- เศรษฐกิจยามค่ำคืนจุดพลังขับเคลื่อนใหม่ให้กับการท่องเที่ยวจีน
- จีนได้รับการขึ้นทะเบียน 3 รายการสำคัญเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ของมนุษยชาติ
- ผู้เชี่ยวชาญฟอรั่มเศรษฐกิจโลกชี้ จีนมีบทบาทสำคัญผลักดันโลกเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาด
- กงสุลใหญ่ไทย ณ นครหนานหนิงระบุ ไทย-จีนมีศักยภาพความร่วมมือใหญ่ ต้องกระชับความร่วมมือในด้านใหม่
- สีจิ้นผิงเป็นประธานประชุมสัมมนารับฟังความคิดเห็นบุคคลนอกพรรคฯด้านเศรษฐกิจ
- ทิเบต: ภูเขาหิมะและทะเลสาบน้ำแข็งดึงดูดนักท่องเที่ยว
- นายกฯจีนจัดเสวนา “1+10” กับผู้รับผิดชอบองค์การเศรษฐกิจระหว่างประเทศที่สำคัญ